รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ตุลาคม 29, 2561 การไปทำงาน เริ่นต้นตื่นจากที่นอนเวลา 5.48 อาบน้ำ แล้วเริ่มไปทำงาน เดินทาง 33 น. เดินอีก 8 น. เตรียมพร้อม 12 น. ก็เริ่มทำงาน รับลิงก์ Facebook X Pinterest อีเมล แอปอื่นๆ ความคิดเห็น
พฤศจิกายน 22, 2561 Arduino พัดลมเปิดปิดอัตโนมัติควบคุมความเร็วตามอุณหภูมิ 4ระดับ จะทำพัดลมอัตโนมัติควบคุมความเร็วตามอุณหภูมิ 4 ระดับ ถ้าอุณหภูมิสูงขึ้นพัดลมจะหมุนเร็วขึ้นตามไปด้วย มีจอแสดงผล ค่าอุณหภูมิห้อง ความชื้นในอากาศ และ ไฟสถานะแสดงระดับความเร็วของพัดลม ใช้ Arduino UNO R3 เป็นบอร์ดประมวลผล ในการอ่านค่าและสั่งงานอุปกรณ์ต่างๆ และใช้ เซ็นเซอร์วัดอุณหภูมิและความชื้น DHT22 วัดค่าอุณหภูมิห้อง # include " DHT.h " 2 # include < Wire.h > 3 # include < LiquidCrystal_I2C.h > 4 int Number = 0 ; 5 const int in3Pin = 3 ; 6 const int in4Pin = 4 ; 7 int p8_Lv1 = 8 ; 8 int p8_Lv2 = 9 ; 9 int p8_Lv3 = 10 ; 10 int p8_Lv4 = 11 ; 11 LiquidCrystal_I2C lcd ( 0x27 , 16 , 2 ); 12 # define DHTPIN 2 // what digital pin we're connected to 13 # define DHTTYPE DHT22 // DHT 22 (AM2302), AM2321 14 DHT dht (DHTPIN, DHTTYPE); 15 void setup () { 16 Serial. begin ( 9600 ); 17 Serial.... อ่านเพิ่มเติม
Coin Validator เครื่องรับเหรียญ เครื่องหยอดเหรียญ Multi Coin รุ่น SG-6 ธันวาคม 16, 2561 int pin = 9; unsigned long duration; int count = 0; void setup() { // initialize serial communications at 9600 bps: Serial.begin(9600); pinMode(pin, INPUT); } void loop() { duration = pulseIn(pin, HIGH, 1000000); float time=duration/1000.00; Serial.print("DelT="); Serial.print(time); Serial.println(" ms"); if (time > 2){ count = count + 1; Serial.println(count); } if (time ==0){ if (count > 0 &&count < 3){ Serial.println("1 Bath"); } if (count > 3 &&count < 7){ Serial.println("5 Bath"); } if (count > 7){ ... อ่านเพิ่มเติม
Learning 7 Segment + Arduino มกราคม 10, 2562 การควบคุม LED แต่ละ Segment ขึ้นอยู่กับการจ่าไฟไปยัง Segment นั้นๆ แต่ไม่ได้หมายความว่า เมื่อจ่ายไฟบวกไปยัง Segment ใดๆ แล้ว Segment นั้นไฟจะติด เพราะมันขึ้นอยู่กับว่า 7 Segment ของเราเป็นแบบขาบวกร่วม หรือลบร่วม แบบ Common Anode เมื่อต้องการให้ไฟที่ Segment ใดๆติด จะต้องให้ขาของ Segment นั้นเป็น 0 หรือ LOW แบบ Common Cathode เมื่อต้องการให้ไฟที่ Segment ใดๆติด จะต้องให้ขาของ Segment นั้นเป็น 1 หรือ HIGH เนื่องจาก ตามหลักการที่ว่า กระแสไฟฟ้าย่อมไหลจาก ศักย์สูง ไปยัง ศักย์ต่ำ นั่นหมายถึง การที่ไฟ LED จะติดได้ จะต้องเกิดจากการที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวมัน จากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่า ไปยังจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ำกว่า หรือที่เรียกว่าความต่างศักย์นั่นเอง เพราะฉะนั้นขาร่วมแบบ "บวกร่วม" จะมีศักย์ไฟฟ้าที่สูงกว่า จึงต้องทำให้ปลายอีกข้างเป็น LOW เพื่อให้กระแสไหลผ่านได้ ส่วนขาร่วมแบบ "ลบร่วม" ก็จะตรงกันข้ามนั่นเอง โดยค่าความต่างศักย์ จะต้องไม่เกินค่าที่ LED นั้นๆทนได้ ซึ่งในบทเรียนนี้ เราจะยกตัวอย่างเป็น 7 Segment LED สีแดง ซึ่งจะทนความต่า... อ่านเพิ่มเติม
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น